การเข้าเรียน ครั้งที่ 12
- พออาจารย์เข้ามาก็เช็คชื่อ
- แล้วให้แต่ละกลุ่มคิดคำขวัญรณรงค์สุรา
กลุ่มที่1
สุราเป็นยาเสพติด พวกเราอย่าหลงผิดคิดติดมันเลย
(ส้ม ภา)
กลุ่มที่ 2เก็บเงินใส่ขวด
ดีกว่าเจ็บปวดเพราะเป็นตับแข็ง( มะปราง)
กลุ่มที่ 3
สุราเป็นยาพิษ ดื่มนิดๆก็ติดใจ
กลุ่มที่ 4
ดื่มสุราเหมือนฆ่าชีวิต คิดซักนิดก่อนจะดื่ม ( ฝน ริตา)
กลุ่มที่ 5
สุรานั้นทำลายชีวิต อย่าหลงผิดคิดไปลอง(แอน แป้ง)
กลุ่มที่ 6
สุราใช่มีค่า อย่าสรรหามันมาลอง เราควรคิดไตร่ตรอง อย่าได้ลองดื่มสุรา( กิ๊ฟ ซะห์)
กลุ่มที่ 7
สุราไม่ใช่พ่อ แล้วจะไปง้อมันทำไม ( แก้ม เบลล์)
กลุ่มที่ 8สุราน่ารังเกลียด
ทำให้แครียดจนมึนงง เราควรจะต้องปลง อย่าไปหลงลองมันเลย ( ศิ หนูนา)
กลุ่มที่ 9สุราคือน้ำเมา
จะทำเราเสียชีวิต จึงควรคิดให้ดี ก่อนจะติดจนตัวตาย ( ปูนิ่ม นุ่น)
กลุ่มที่ 10
ดื่มสุราวันละนิด แค่คิดก็เสี่ยงแล้ว (โอม โอ)
กลุ่มที่ 11 เสียเหงื่อเพื่อกีฬา
ดีกว่าเสียเงินตรา ให้กับค่าเหล้า (แอน วาว)
กลุ่มที่ 12
สุรากินแล้วเมา กลับบ้านเก่าก่อนใครๆ (หลัน จ๋า)
กลุ่มที่ 13
ดื่มนมเพื่อสุขภาพ ดีกว่าดื่มน้ำเนาเพื่อมรณภาพ (สา กุ้ง)
กลุ่มที่ 14
สุราลองแล้วติด อย่าได้คิดติดมันเลย (ซาร่า แก้ว)
กลุ่มที่ 15 รักชีวิต
อย่าคิดดื่มสุรา ( กวาง เมย์)
กลุ่มที่ 16
สุรานั้นไม่ดี มีทั้งพิษและมีภัย ดื่มแล้วก็ติดใจ เงินรั่วไหลหมดกระเป๋า (บี
รัตน์)
กลุ่มที่ 17 ถ้าไม่อยากตายไว
ต้องห่างไกลผิดสุรา( แอม อ้อม)
อาจารย์ให้ดูการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน
เรื่องช้างน้อยอัลเฟรด
ซึ่งเขียนโดย นฤมล เนียมหอม
- แนวคิดที่ได้จากนิทาน
1. การยอมรับความแตกต่างของผู้อื่น
และยอมรับความแตกต่างของตนเองที่ไม่เหมือนผู้อื่น
การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน
ดร.นฤมล เนียมหอม จากแนวคิดพื้นฐานที่ว่า "นิทาน"
เป็นสิ่งที่เด็กเข้าถึงได้ง่าย เรื่องราวในนิทานมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างเสริมจินตนาการให้แก่เด็ก
การนำนิทานมา
เป็นสื่อหลักในการจัดประสบการณ์
จึงเป็นเทคนิคที่จะช่วยให้เด็กประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ได้ง่ายยิ่งขึ้น
คุณครู
แมว –ดร. นฤมล เนียมหอม จึงได้คิดองค์ความรู้ “การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน” โดย
เริ่มต้นจากกิจกรรมเล็ก ๆ น้อย
จนมาทำเป็นเต็มรูปแบบในโรงเรียนทุ่งมหาเมฆตั้งแต่ปี 2550
โดยในขั้นตอนการเรียนรู้
เด็ก ๆ จะเป็นผู้เลือกนิทานด้วยตัวเอง
จากนั้นคุณครูจะนำนิทานที่เด็ก ๆ
เลือกมาประยุกต์ใช้ในการคิดกิจกรรมเพื่อการ
เรียนรู้ของเด็ก ๆ ทั้ง 6 กิจกรรม วิธีนี้จะทำให้เด็ก ๆ
สนุกกับการเรียนรู้เหมือนอยู่ในโลกนิทานตลอดทั้งวัน
2. การช่วยเหลือที่ต้องมีในสังคมเป็นเรื่องที่สำคัญเป็นอย่างยิ่ง
- อาจารย์ได้พูดถึงเกมว่ามีอะไรบ้าง
1. เกมจับคู่
2. เกมโดมิโน
3.เกมล็อตโต
4. เกมสำคัญ
2 แกน
5. เกมอุปมา อุปไมย
6. เกมอนุกรม
- การเล่านิทานมีหลายเเบบ คือ
1.เล่าไปตัดไป
2. เล่าไปวาดไป
3. เล่าไปฉีกไป
4. เล่าไปพับไป
5. เล่าด้วยเชือก
- อาจารย์ให้กุล่มที่ทำงานปฎิทิน
แล้วมาหาวิธีที่จะเลือก วิธีการต่างๆเหล่านี้มาเล่าให้อาจารย์ฟังในคาบหน้า
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น