การเข้าเรียนครั้งที่ 14
วันนี้ วันที่ 12
กันยายน พ.ศ.2555 เวลาเรียน 08.30-12.20 น
-วันนี้นักศึกษาทุกคนรออาจารย์อยู่ที่ห้อง
รอได้ซักพัก
เเล้วก็มีเพื่อนขึ้นมาบอกว่าให้เพื่อนที่เรียนกับอาจารย์ไปหาอาจารย์ข้างล่าง
ตึกคณะ และจารุวรรณลงไปหาอาจารย์แล้วก็นำกล้อง VDO มาถ่ายในการเล่านิทานของแต่ละคู่
- อาจารย์ได้ถามเเละได้บันทึกไว้ว่าใครบ้างที่มีความสามารถพิเศษในด้านต่างๆ
เพื่อนทุกคนก็มีทั้งความสามารถแะละไม่มี
แต่ทำไมถึงให้อาจารย์ต้องถามย้ำหลายๆรอซึ่งเรื่องแบบนี้มันเป็นเรื่องของตัวเราเอง
เราต้องมีข้อมูลที่สุดแล้ว ไม่จำเป็นต้องให้คนอื่นมาถามซ้ำ หรือถามคำ ตอบคำ
- อาจารย์พูดถึงอาเซียนว่าเราจะสอนอาเซียนให้กับเด้กได้อย่างไร
พวกเราต่างก็ร่วมตอบกันทุกคน เช่น การวาดภาพ ระบายสี
การร้องเพลง
สอนภาษาสื่อออกมาโดยลักษณะท่าทาง การเเสดงออก
- อาจารย์ก็ได้พูดถึงว่าการเรียนที่มีการปรับปรุงและพัฒนาทำไมนักศึกษาไม่พัฒนาเลยสมุดบันทึกก็ไม่มี
การทำงานต้องมีหลัก
ฐาน คะเเนนอาจารย์ให้ทุกคน 100
คะเเนนแต่ขึ้นอยู่กับตัวเราเองว่าจะสามารถรักษามันไว้มากน้อยเเค่ไหนเององค์ความรู้
- การจัดประสบการณ์ต้องสอดค้องกับพัฒนาการของเด็และวิธีการเรียนรู้
- วิธีการเรียนรู้ของเด็กคือการลงมือกระทำโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง
5 และกระทำอย่างอิสระ
การเล่านิทาน เรื่อง บ้านแสนสุข ( เล่าไป พับไป )
สะท้อนหลังการเรียน
- ได้รับความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน
-สามารถเล่านิทานแบบเล่าไป พับไป ผ่านไปได้อย่างโดยดี
-รับรู้ในความสามารถของเพื่อน ๆ
-การเรียนที่ดีควรจดบันทึกความรู้ต่าง ๆ เพื่อเป็นในความเข้าใจของเรา
ภาษาง่าย ๆ ในประเทศอาเซียน
การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรม
สรุป
"การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน"
ของ ดร.นฤมล เนียมหอม เด็กๆ
จะเลือกนิทานเองจากนั้นคุณครูจะนำนิทานที่เด็ก ๆ
เลือกมาประยุกต์ใช้ในการคิดกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ของเด็ก ๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น